ผลลัพธ์การเรียนรู้

3. ผลลัพธ์การพัฒนาที่คาดหวัง

3.1 เชิงปริมาณ

       ผู้เรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 จำนวน 3 ห้อง รวมจำนวนผู้เรียนทั้งหมด 120 คน ได้รับการแก้ไขปัญหาการขาดทักษะการวิเคราะห์วรรณคดีและวรรณกรรมโดยการใช้เพลงในการจัดการเรียนการสอน ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ในรายวิชาภาษาไทย ดังนี้

          - ผู้เรียนร้อยละ 70 มีทักษะการวิเคราะห์วรรณคดีและวรรณกรรม 

สังเกตดังนี้

     1) แบบทดสอบหลังเรียนเรื่อง การวิเคราะห์วรรณคดีและวรรณกรรมสังเกต ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 70 ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 70 ของผู้เรียนทั้งหมด 

2) แบบฝึกหัด เรื่อง การวิเคราะห์วรรณคดีและวรรณกรรมสังเกต ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 70 ของผู้เรียนทั้งหมด

     3) ชิ้นงาน การวิเคราะห์เพลงตามหลักการวิเคราะห์วรรณคดีและวรรณกรรม ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 70 ของผู้เรียนทั้งหมด

        - ผู้เรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ได้รับการซ่อมเสริมและปรับปรุงผลการเรียนให้ดีขึ้นไม่ต่ำกว่าร้อยละ 70 ของผู้เรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์

3. ผลลัพธ์การพัฒนาที่คาดหวัง

3.2 เชิงปริมาณ

3. ผลลัพธ์การพัฒนาที่คาดหวัง

3.2 เชิงคุณภาพ

     ผู้เรียนมีความพึงพอใจต่อการต่อการเรียนการสอน เรื่อง การวิเคราะห์วรรณคดีและวรรณกรรมโดยการใช้เพลงในการจัดการเรียน    การสอน ในระดับ มาก 

3. ผลลัพธ์การพัฒนาที่คาดหวัง

3.2 เชิงคุณภาพ

"กิจกรรมวิเคราะห์เพลงศิลปินคนโปรด เป็นหนึ่งในกิจกรรมที่ดีที่สุดของทั้งหมดที่เคยเรียนมาเลย "

"ตอนแรกที่วิเคราะห์เพลงหนูไม่ค่อยชอบ หนูมองว่ามันยาก แต่พอที่เราเรียนเข้าใจ มันดูง่ายมาก ๆ"

"ครูเลือกที่จะทำให้มันสนุกมากขึ้นโดยการที่ให้เราเอาเพลงมาวิเคราะห์เเม่เจ้าาาามันสุดยอดมาก"